บทความ

บทความเกี่ยวกับสุขภาพจิต จิตวิทยา และ การกลับมาดูแลใจตัวเอง

ชีวิตคู่ เหมือน ลิ้นกับฟัน… แต่ถ้า “สื่อสารดี” ทะเลาะกันก็ไม่ Toxic
เป็นปกติที่ยิ่งคนเราสนิทกันมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีโอกาสได้เห็นถึงตัวตนต่าง ๆ ซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น จึงไม่แปลกเลยที่จะมี “ความขัดแย้ง” “กระทบกระทั้ง” “ผิดใจ” หรือ “ไม่เข้าใจกัน” ยิ่งในชีวิตคู่แล้ว ยิ่งมีความซับซ้อนขึ้นไปใหญ่ เพราะมันเต็มไปด้วย “ความคาดหวัง” และ “ความต้องการ” ที่เรามีทั้งต่อตัวเองและมีต่อคนรักของเรา จึงทำให้ความขัดแย้งมักเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง
“ความกังวล” ของเราต่างกัน… ชวนรู้จัก 5 แบบของความกังวล
ความคิดกังวลเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน และเป็นเรื่องปกติ แต่หากความคิดนั้นเริ่มรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน หรือทำให้คุณภาพของการใช้ชีวิตลดลง อาจเป็นสัญญาณว่าเราอาจเข้าข่ายเป็นโรควิตกกังวล
คุยกับนักจิต vs คุยกับเพื่อน ต่างกันยังไง??
แม้ว่าจะเป็น “พื้นที่ปลอดภัย” เหมือนกัน แต่การคุยกับเพื่อน และนักจิตวิทยา ก็มีหลายประเด็นที่มีความแตกต่างกัน บทความนี้ on mind way จึงได้รวบรวมประเด็นความแตกต่างเหล่านั้นมานำเสนอให้ทุกคนได้เข้าใจมากขึ้น
7 กิจกรรม “ดูแลใจ”…ทำได้ทุกวัน
ใครที่กำลังรู้สึกเหนื่อย เครียด จากการเรียน หรือการทำงาน หรือกำลังอยากหาวิธีดูแลใจที่เหมาะกับตนเอง วันนี้ on mind way เอา 7 กิจกรรม ที่จะช่วยให้คุณสามารถพักผ่อน หรือผ่อนคลายจิตใจที่สามารถทำได้ง่ายๆ และทำได้ทุกวันมาฝากกัน

8 เทคนิค ช่วยทบทวนตัวเองได้ดีขึ้น
“การทบทวนตัวเอง” หรือ Self-Reflection คือ การกลับมาทำความเข้าใจความคิด ความรู้สึก พฤติกรรม และประสบการณ์ของตนเองอย่างลึกซึ้ง เพื่อให้เข้าใจตัวเองและสิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้อย่างละเอียด และตามความเป็นจริงมากขึ้น แต่หลายคนก็อาจจะสงสัยว่า แล้วทำอย่างไรถึงจะสามารถทำความเข้าใจตัวเองได้อย่างละเอียด และลึกซึ้ง ดังนั้นในบทความนี้ on mind way ได้ทำการรวบรวม 8 เทคนิคที่จะช่วยให้เราเห็นตัวเองได้อย่างชัดเจนมากขึ้น มาฝากกัน การที่เราได้มีเวลา “หยุดพัก” เพื่อกลับมา Reflect

“ซึมเศร้า” ของเราไม่เหมือนกัน…ชวนมาเข้าใจโรคซึมเศร้าแต่ละชนิด
รู้ไหมว่า แม้จะได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าเหมือนกัน แต่รูปแบบ ลักษณะอาการ อาจจะมีความแตกต่างกันได้ เพราะโรคซึมเศร้านั้นไม่ได้มีชนิดเดียว และแม้จะเป็นชนิดเดียวกัน แต่อาการที่แสดงออกก็ไม่ได้เหมือนกันทั้งหมด บทความนี้ on mind way จึงได้รวบรวมข้อมูลชนิดของโรคซึมเศร้ามาให้ทุกคนได้รู้จัก และทำความเข้าใจกัน
เลิกกันแล้ว แต่ยัง move on ไม่ได้…มันเป็นเพราะอะไรนะ ?
แม้ว่าความสัมพันธ์จะจบลงไปแล้ว…หลายๆ คนอาจจะยังคงนึกถึง และยังวนอยู่กับความคิดที่อยากให้เค้ากลับมาอีกครั้ง วันนี้อาจจะรู้สึกเหมือนทำใจได้แล้ว แต่ผ่านไปอีกวันก็กลับไปคิดถึงเขาอีก จนเกิดเป็นคำที่เรามักจะได้ยินนั่นคือ “move on เป็นวงกลม”
5 เหตุผลที่ “การเลิกกัน” เป็นเรื่องยาก แม้จะรู้ว่าอยู่ใน Toxic Relationship
เคยสงสัยในตัวเองไหมว่า ทั้งๆ ที่รู้ว่า Romantic Relationship ตอนนี้ ”มันแย่ มัน Toxic“ เหลือเกิน แต่ก็ยังตัดสินใจเลิกกันไม่ได้! วันนี้ on mind way จึงอยากมาอธิบายถึง 5 เหตุผล ที่ทำให้เรายังไม่สามารถออกมาจากความสัมพันธ์ได้
“ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน” : 5 ผลกระทบต่อลูก จากความ toxic ของพ่อแม่
“ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน” “พ่อแม่ toxic” เราอาจได้ยินสำนวนเหล่านี้อยู่บ่อย ๆ แต่ทุกคนรู้มั้ยว่าพ่อแม่ toxic คืออะไร และสามารถส่งผลกระทบกับชีวิตคนเป็นลูกอย่างเรายังไงบ้าง?
4 ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับการปรึกษานักจิตวิทยา
การดูแลสุขภาพจิตเป็นเรื่องที่หลายๆ คน ให้ความสนใจมากขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามเนื่องจากการปรึกษานักจิตวิทยานั้น ถือเป็นบริการที่ค่อนข้างใหม่ในประเทศไทย จึงอาจจะทำให้หลายคนยังคงมีความเข้าใจผิดเกี่ยวกับบริการนี้อยู่บ้าง ในวันนี้ on mind way จึงอยากชวนมาทำความเข้าใจ 4 ประเด็นที่คนมักจะเข้าใจผิดเกี่ยวกับการทำงานของนักจิตวิทยาการปรึกษา
เคยรู้สึก…ตัดสินใจผิดกันมั้ย?
เคยรู้สึกว่าตัวเองตัดสินใจผิดกันบ้างไหม? ความรู้สึกแบบนี้มักจะเกิดขึ้นเมื่อเราเจอกับเรื่องที่ไม่ถูกใจ หรือไม่เป็นไปอย่างที่เราตั้งใจไว้ จนต้องกลับมามาบอกตัวเองว่าถ้ารู้แบบนี้ ตอนนั้นน่าจะทำ หรือน่าจะเลือกแบบนั้นดีกว่า หรือ “รู้งี้” ไม่น่าตัดสินใจแบบนี้เลย….
คุยกับตัวเองยังไง…ให้ดีต่อใจ
การคุยกับตัวเอง (self-talk) คือการสื่อสารกับตัวเองด้วยเสียงจากข้างในของเรา ที่มาจากความคิด ความเชื่อ และประสบการณ์ที่ผ่านมา แน่นอนว่า การคุยกับตัวเอง ไม่ใช่เรื่องแปลกและเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเกือบจะตลอดเวลา รวมทั้งมีผลโดยตรงกับทั้งความคิด ความรู้สึก การกระทำ และการตัดสินใจของตัวเรา บทความนี้ เราจึงอยากนำเสนอแนวทางในการคุยกับตัวเองเชิงบวก 3 แนวทาง
เวลาทะเลาะกับแฟน เราเป็นคนแบบไหนนะ?
ทะเลาะกับแฟนอีกแล้ว 😞 เป็นเพราะเลือดกรุ๊ป B หรือพื้นฐานใจที่มีกันนะ อยากรู้มั้ยว่า attachment styles ของตัวเองเป็นแบบไหน มาลองดูกันเลย!
รู้จัก ความคิดที่ทำให้เราทุกข์ หรือ “Cognitive Distortions”
Cognitive Distortions คือ“รูปแบบความคิดต่างๆ ที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง นำไปสู่การมองสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ ที่ทำให้เรามีความเชื่อทางลบเกี่ยวกับตัวเองหรือสิ่งต่างๆ รอบตัวโดยไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง”
5 แนวทาง ดูแลใจยังไง…ในปีชง ??
ในช่วงเทศกาลปีใหม่แบบนี้ บางคนอาจจะกำลังรู้สึกกังวลใจ และไม่สบายใจหากตัวเองเกิดในปีที่เป็น “ปีชง” กับปีนี้ ดังนั้น on mind way จึงอยากนำวิธีในการดูแลใจเบื้องต้นสำหรับคนที่อาจจะกำลังรู้สึกกังวล หรือไม่มั่นใจกับการใช้ชีวิตในปีนี้มาฝากกัน
จบวันหยุดยาวทีไร รู้สึกดิ่งทุกที…ทำไงดีนะ?
ช่วงวันหยุดยาว คงเป็นช่วงเวลาที่หลายคนรอคอย เพราะจะได้พักผ่อนจากการเรียน หรือการทำงาน ได้มีเวลาให้ตัวเองได้ทำในสิ่งที่อยากทำ หรือได้กลับไปใช้เวลากับคนที่เรารัก แต่เมื่อช่วงเวลานั้นจบลง บางคนอาจเกิดความรู้สึกดิ่ง ความรู้สึกเศร้า หรือที่เรียกว่า “Post-Vacation Blues” ดังนั้น วันนี้ on mind way จึงอยากมาชวนดูวิธีที่จะรับมือกับสภาวะนี้กัน
How to… มีวันหยุด แบบได้พักทั้งกายและใจ
เคยมั้ย มีวันหยุด…แต่เหมือนไม่ได้หยุด เพราะต้องนั่งตอบเรื่องงาน พอตอบเสร็จ ในหัวก็กังวล เครียดเรื่องงานไม่หยุด จนไม่ได้เที่ยว หรือพักใจอย่างที่อยากทำ วันนี้เรามีทริคง่ายๆ สำหรับการรับมือกับใจ ที่ว้าวุ่นเวลาโดนตามงานในวันที่เรากำลังพัก เพื่อให้เราได้ใช้เวลาพักผ่อนที่มีค่าอย่างเต็มที่กัน
รู้ไหม…เราให้ของขวัญตัวเองได้ทุกวัน
ช่วงเวลาในการได้รับของขวัญ คงเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยความสุข ความตื่นเต้น ความประทับใจ แต่จะดีกว่าไหม ถ้าเราจะได้สัมผัสความรู้สึกดีๆ เหล่านี้ในทุกวัน ผ่านการให้ของขวัญกับตัวเอง
เพื่อนเหมือนจะ “ซึมเศร้า” ช่วยยังไงได้บ้าง?
เคยเป็นมั้ย บางทีรู้รู้สึกเหมือนเพื่อนจะกำลังอยู่ในภาวะซึมเศร้า รู้สึกว่าเพื่อนไม่ไหว แต่เราก็ไม่รู้จะช่วยยังไงดี วันนี้เลยมี 6 ข้อที่เราพอจะช่วยเพื่อนได้มาฝากกัน
มี “เป้าหมาย” แล้ว…ทำยังไงให้ “สำเร็จ”?
เคยมั้ย…ตั้งเป้าหมายเอาไว้ แต่ก็ไม่ได้ทำสักที เพราะเราก็เอาแต่จะผลัดวันไปเรื่อยๆ สุดท้ายก็ไม่ได้เริ่มลงมือทำ หรือบางครั้งเริ่มทำไปแล้ว แต่สุดท้ายก็ล้มเลิกกลางทางเพราะรู้สึกท้อ หรือเหนื่อยเกินไป หากเราเป็นคนหนึ่งที่มักจะเป็นแบบนี้ ลองเอาทริคพวกนี้ไปลองปรับใช้ เพื่อให้เราลงมือทำตาม goal ที่ตั้งไว้ได้มากขึ้นกัน
How to พักใจ พักกาย…แบบไม่รู้สึกผิด
หากใครไม่เคยปล่อยให้ตัวเองได้พัก เราจะชวนมาดูมุมมองที่จะทำให้เราสามารถพักกาย พักใจได้โดยไม่รู้สึกผิด เพื่อให้เราสามารถพักได้อย่างเต็มที่ และกลับไปทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพกัน
เป็นเพื่อนที่ดีให้กับ “ตัวเอง” และ “คนอื่น” ด้วย Empathy
Empathy คือความสามารถในการเข้าใจและร่วมรู้สึกไปกับความรู้สึกของคนอื่น หากทุกคนได้เข้าใจว่า Empathy คืออะไร ได้กลับมาสังเกตคำพูด ความคิด หรือการกระทำของตัวเองเวลารับฟังเรื่องราวของคนอื่น และได้ลองนำแนวทางจากบทความนี้ไปปรับใช้กับตัวเอง Empathy ก็จะถือเป็นอีกทักษะที่สามารถเรียนรู้ ฝึกฝนและพัฒนาได้เช่นกัน
Empathy vs Sympathy “ความเข้าใจ” ที่ไม่เหมือนกัน
หลายคนอาจจะเคยได้ยิน หรือเข้าใจความหมายของ Empathy และ Sympathy มาบ้าง ในขณะที่บางคนก็อาจจะสับสนว่า 2 คำนี้มีความหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร เราเลยอยากชวนทุกคนมาทำความเข้าใจ 2 คำนี้ให้มากขึ้น โดยทั้ง 2 คำ ต่างเป็นความรู้สึกเข้าใจที่เกิดขึ้นเมื่อเราได้รับฟังปัญหาหรือความไม่สบายใจของคนอื่น แต่แตกต่างกันที่ลักษณะ จุดประสงค์ และการแสดงออก
นอนไม่หลับ เพราะหยุดคิดไม่ได้…ทำยังไงดี?
การนอนไม่หลับเป็นหนึ่งในปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้คนในหลายช่วงวัย ซึ่งสามารถเกิดได้จากปัจจัยทั้งทางกายภาพ หรือรูปแบบในการใช้ชีวิต แต่สิ่งหนึ่งที่มักเกิดขึ้นกับหลายๆคนคือ โดยเฉพาะเมื่อมีสถานการณ์ที่ทำให้รู้สึกเครียด คือการคิดมาก หรือกังวล
ตำหนิตัวเองจนเหนื่อยแล้ว…มาลองรักตัวเองดูบ้างไหม?
เชื่อว่าทุกๆ คน คงไม่อยากที่จะ “ตำหนิตัวเอง (self-criticism)” แต่เชื่อไหมว่าการที่จะเลิกพฤติกรรมนี้มันยากเหลือเกิน ฉะนั้นวันนี้ on mind way จึงอยากแนะนำเทคนิคดีๆในการรับมือกับ “การตำหนิตัวเอง” ด้วยความรักตัวเอง และใจดีกับตัวเองผ่าน “ถ้อยคำที่นุ่มนวลต่อตัวเอง”
ทำไมอกหัก แล้วรู้สึกว่าเราไม่เหลืออะไรเลย ?
คงปฏิเสธได้ยากว่าเมื่อความสัมพันธ์มาถึงจุดสิ้นสุด “ฝ่ายที่ถูกบอกเลิก” หรือเป็นคนที่อกหัก มักจะเป็นผู้ที่รู้สึกแย่กว่าในความสัมพันธ์ โดยเฉพาะสำหรับบางคน อาจรู้สึกราวกับว่าโลกใบนี้มันมืดมัวไปหมด รู้สึกราวกับว่าตัวเราไม่เหลืออะไรเลย แม้แต่สิ่งที่เคยเป็นความสุขของเรา ในวันนี้กลับไม่มีความสุขเหมือนแต่ก่อน ตลอดจนกลับมามีข้อสงสัยในคุณค่าของตัวเอง
มีปัญหา ควรไปคุยกับนักจิต หรือ ไปดูดวง??
จริงๆ ก็คงปฏิเสธไม่ได้ ว่าการไปดูดวง ก็เป็นตัวเลือกแรก ที่หลายคนมักจะนึกถึง เวลาที่เจอปัญหา หรือความไม่สบายใจ แล้วหมอดู กับนักจิตวิทยา ต่างกันยังไงนะ
“ความสุข” อยากมีบ้าง…ทำยังไงดี
“แล้วจะสร้างความสุขให้ตัวเองได้ยังไง” บทความนี้เรายากมานำเสนอบ้างแง่มุมที่จะเป็นตัวช่วยให้ทุกคนสามารถมองเห็นและมีความสุขในการใช้ชีวิตได้มากขึ้น
3 มุมมองทางลบที่สัมพันธ์กับ โรคซึมเศร้า (Depression)
ชวนมาทำความเข้าใจ และรู้จัก 3 มุมมองทางลบที่มีความเกี่ยวข้อง และสัมพันธ์กับโรคซึมเศร้า
ทำไมต้องใส่ใจ สุขภาพจิต(ใจ) ??
ถ้าถามว่าระหว่างร่างกาย กับ จิตใจ เรา “ให้ความสำคัญ” กับอะไรมากกว่ากัน หลายคนคงตอบว่าเท่ากัน หรือลังเลที่จะเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่หากเปรียบเทียบกันแล้ว ส่วนใหญ่เรามักจะดูแลสุขภาพกาย และละเลยการใส่ใจสุขภาพจิต…
จิตแพทย์ vs นักจิตวิทยา…ควรไปหาใครดี ??
รู้หรือไม่ จิตแพทย์ กับ นักจิตวิทยา ไม่ใช่อาชีพเดียวกันนะ…วันนี้เราจะมาอธิบายความแตกต่างของทั้ง 2 อาชีพ เพื่อให้ทุกคนเลือกใช้บริการได้ตรงตามจุดประสงค์ และความต้องการของตัวเอง
ต้องเครียดแค่ไหน ถึงควรปรึกษานักจิตวิทยา? ??
ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ คงปฏิเสธไม่ได้ว่า “สุขภาพจิต” ถือเป็นประเด็นที่ถูกพูดถึงและให้ความสำคัญมากขึ้นในสังคมไทย