ปรึกษานักจิตวิทยา
กับ on mind way
- Journey to your mental well-being -
การเข้ารับบริการกับนักจิตวิทยาการปรึกษา จะเป็นพื้นที่ให้ทุกคนสำหรับการทำงานกับจิตใจผ่านการพูดคุย โดยนักจิตวิทยาการปรึกษาจะ “รับฟัง” และ “สะท้อน” ถึงความคิด ความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับคุณเพื่อทำความเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเอง และหาแนวทางในการรับมือกับสภาวะอารมณ์ หรือความไม่สบายใจที่เผชิญอยู่ร่วมกัน เปรียบเสมือนเป็น “เพื่อนร่วมทาง” ในช่วงเวลาที่คุณเผชิญกับปัญหาต่างๆ
การเข้ารับบริการกับนักจิตวิทยาการปรึกษา จะเป็นพื้นที่ให้ทุกคนสำหรับการทำงานกับจิตใจผ่านการพูดคุย โดยนักจิตวิทยาการปรึกษาจะ “รับฟัง” และ “สะท้อน” ถึงความคิด ความรู้สึกต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับคุณเพื่อทำความเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นกับตนเอง และหาแนวทางในการรับมือกับสภาวะอารมณ์ หรือความไม่สบายใจที่เผชิญอยู่ร่วมกัน เปรียบเสมือนเป็น “เพื่อนร่วมทาง” ในช่วงเวลาที่คุณเผชิญกับปัญหาต่างๆ
On mind way’s youtube channel : On Mind Way Counseling
EP1 : anxiety / ความวิตกกังวล รับมือยังไง?
บทความล่าสุด
คุยกับตัวเองยังไง…ให้ดีต่อใจ
เวลาทะเลาะกับแฟน เราเป็นคนแบบไหนนะ?
คุยกับตัวเองยังไง…ให้ดีต่อใจ
เวลาทะเลาะกับแฟน เราเป็นคนแบบไหนนะ?
เปิดรับสมัคร Workshop
Petals of Reflection:
รีวิวชีวิตที่ผ่านมาในปีนี้เตรียมพร้อมใจดีกับตัวเองในปีหน้า
ประชาสัมพันธ์ workshop สำรวจใจ
หัวข้อ “Blooming with values”
มาร่วมสำรวจ และค้นหาคุณค่าในชีวิต
ประชาสัมพันธ์ workshop
สำรวจใจ
หัวข้อ “Blooming with values”
มาร่วมสำรวจ และค้นหาคุณค่าในชีวิต
โดยขอบเขตการทำงานของนักจิตวิทยาการปรึกษานั้น จะไม่สามารถวินิจฉัยโรค หรือจ่ายยาให้กับผู้มารับบริการได้ ในที่นี้ไม่ได้หมายความว่าเราทำงานกับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคทางจิตเวชไม่ได้ เพียงแต่เราจะมาทำงานในส่วนที่ทำความเข้าใจเรื่องราว หรือปัจจัยที่เข้ามามีผลกระทบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ร่วมกับการรักษาจากจิตแพทย์
โดยขอบเขตการทำงานของนักจิตวิทยาการปรึกษานั้น จะไม่สามารถวินิจฉัยโรค หรือจ่ายยาให้กับผู้มารับบริการได้ ในที่นี้ไม่ได้หมายความว่าเราทำงานกับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคทางจิตเวชไม่ได้ เพียงแต่เราจะมาทำงานในส่วนที่ทำความเข้าใจเรื่องราว หรือปัจจัยที่เข้ามามีผลกระทบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ร่วมกับการรักษาจากจิตแพทย์
การทำงานของ “นักจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychogist)"
ในประเทศไทย
การทำงานของ “นักจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychogist)"
ในประเทศไทย
บุคลากรที่ให้บริการในด้านสุขภาพจิตนั้นมีทั้งจิตแพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก นักจิตวิทยาการปรึกษา และนักจิตบำบัด ซึ่งแต่ละคนก็จะมีรูปแบบ และแนวทางการทำงานต่างกันตามสิ่งที่เรียนมา ถึงอย่างนั้นจุดประสงค์ในการทำงานก็คือการดูแล และรักษาสุขภาวะทางจิตของผู้มารับบริการเหมือนกัน
หลายคนอาจจะรู้สึกสับสนระหว่างคำว่า “นักจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychologist)” กับ “นักจิตบำบัด (Psychotherapist)” ซึ่งหากจะอธิบายให้เข้าใจมากขึ้นนั้น อาจพูดได้ว่า 2 คำนี้ ไม่ได้มีความหมายที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนเพราะต่างเป็นการให้บริการจากบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเหมือนกัน โดยการให้บริการของนักจิตวิทยาการปรึกษานั้นถือเป็นหนึ่งในการบำบัดทางสุขภาพจิต ที่จะใช้ “การพูดคุย” ด้วย “ทักษะ” และ “ทฤษฎี” ทางจิตวิทยาการปรึกษา มาเป็นเครื่องมือในการบำบัด เพื่อให้ผู้เข้ารับบริการได้กลับมาเข้าใจประเด็นที่คับข้องใจ รวมถึงได้เห็นถึงทรัพยากร รวมถึงความสามารถของตัวพวกเขาในการรับมือและจัดการกับประเด็นปัญหาเหล่านั้น ในขณะที่นักจิตบำบัดบางท่าน อาจจะมีแนวทางในการบำบัดที่ค่อนข้างเฉพาะทาง อย่างการใช้ศิลปะ ดนตรี การเต้น หรือการแสดงเป็นสื่อกลางในการเอื้อให้ผู้เข้ารับบริการเข้าใจตัวเองมากขึ้น
บุคลากรที่ให้บริการในด้านสุขภาพจิตนั้นมีทั้งจิตแพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก นักจิตวิทยาการปรึกษา และนักจิตบำบัด ซึ่งแต่ละคนก็จะมีรูปแบบ และแนวทางการทำงานต่างกันตามสิ่งที่เรียนมา ถึงอย่างนั้นจุดประสงค์ในการทำงานก็คือการดูแล และรักษาสุขภาวะทางจิตของผู้มารับบริการเหมือนกัน
หลายคนอาจจะรู้สึกสับสนระหว่างคำว่า “นักจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychologist)” กับ “นักจิตบำบัด (Psychotherapist)” ซึ่งหากจะอธิบายให้เข้าใจมากขึ้นนั้น อาจพูดได้ว่า 2 คำนี้ ไม่ได้มีความหมายที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนเพราะต่างเป็นการให้บริการจากบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเหมือนกัน โดยการให้บริการของนักจิตวิทยาการปรึกษานั้นถือเป็นหนึ่งในการบำบัดทางสุขภาพจิต ที่จะใช้ “การพูดคุย” ด้วย “ทักษะ” และ “ทฤษฎี” ทางจิตวิทยาการปรึกษา มาเป็นเครื่องมือในการบำบัด เพื่อให้ผู้เข้ารับบริการได้กลับมาเข้าใจประเด็นที่คับข้องใจ รวมถึงได้เห็นถึงทรัพยากร รวมถึงความสามารถของตัวพวกเขาในการรับมือและจัดการกับประเด็นปัญหาเหล่านั้น ในขณะที่นักจิตบำบัดบางท่าน อาจจะมีแนวทางในการบำบัดที่ค่อนข้างเฉพาะทาง อย่างการใช้ศิลปะ ดนตรี การเต้น หรือการแสดงเป็นสื่อกลางในการเอื้อให้ผู้เข้ารับบริการเข้าใจตัวเองมากขึ้น
บุคลากรที่ให้บริการในด้านสุขภาพจิตนั้นมีอยู่หลากหลายแขนง ทั้งจิตแพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก นักจิตวิทยาการปรึกษา และนักจิตบำบัด ซึ่งแต่ละคนก็จะมีรูปแบบ และแนวทางการทำงานตามสิ่งที่ตนเองได้ศึกษามา แต่อย่างไรก็ตามจุดประสงค์ในการทำงานก็คือการดูแล และรักษาสุขภาวะทางจิตของผู้มารับบริการเช่นเดียวกัน
ทั้งนี้หลายคนอาจจะรู้สึกสับสนระหว่างคำว่า “นักจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychologist)” กับ “นักจิตบำบัด (Psychotherapist)” ซึ่งหากจะอธิบายให้เข้าใจมากขึ้นนั้น อาจพูดได้ว่า 2 คำนี้ ไม่ได้มีความหมายที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนเพราะต่างเป็นการให้บริการจากบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตเหมือนกัน โดยการให้บริการของนักจิตวิทยาการปรึกษานั้นถือเป็นหนึ่งในการบำบัดทางสุขภาพจิต ที่จะใช้ “การพูดคุย” ด้วย “ทักษะ” และ “ทฤษฎี” ทางจิตวิทยาการปรึกษา มาเป็นเครื่องมือในการบำบัด เพื่อให้ผู้เข้ารับบริการได้กลับมาเข้าใจประเด็นที่คับข้องใจ รวมถึงได้เห็นถึงทรัพยากร รวมถึงความสามารถของตัวพวกเขาในการรับมือและจัดการกับประเด็นปัญหาเหล่านั้น ในขณะที่นักจิตบำบัดบางท่าน อาจจะมีแนวทางในการบำบัดที่ค่อนข้างเฉพาะทาง อย่างการใช้ศิลปะ ดนตรี การเต้น หรือการแสดงเป็นสื่อกลางในการเอื้อให้ผู้เข้ารับบริการเข้าใจตัวเองมากขึ้น
Review
การปรึกษานักจิตวิทยา กับ on mind way
การปรึกษานักจิตวิทยา
กับ on mind way
บทความ
คุยกับตัวเองยังไง…ให้ดีต่อใจ
การคุยกับตัวเอง (self-talk) คือการสื่อสารกับตัวเองด้วยเสียงจากข้างในของเรา ที่มาจากความคิด ความเชื่อ และประสบการณ์ที่ผ่านมา แน่นอนว่า การคุยกับตัวเอง ไม่ใช่เรื่องแปลกและเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเกือบจะตลอดเวลา รวมทั้งมีผลโดยตรงกับทั้งความคิด ความรู้สึก การกระทำ และการตัดสินใจของตัวเรา บทความนี้ เราจึงอยากนำเสนอแนวทางในการคุยกับตัวเองเชิงบวก 3 แนวทาง
เวลาทะเลาะกับแฟน เราเป็นคนแบบไหนนะ?
ทะเลาะกับแฟนอีกแล้ว 😞 เป็นเพราะเลือดกรุ๊ป B หรือพื้นฐานใจที่มีกันนะ อยากรู้มั้ยว่า attachment styles ของตัวเองเป็นแบบไหน มาลองดูกันเลย!
รู้จัก ความคิดที่ทำให้เราทุกข์ หรือ “Cognitive Distortions”
Cognitive Distortions คือ“รูปแบบความคิดต่างๆ ที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง นำไปสู่การมองสิ่งต่างๆ ในแง่ลบ ที่ทำให้เรามีความเชื่อทางลบเกี่ยวกับตัวเองหรือสิ่งต่างๆ รอบตัวโดยไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง”